華裔畫家 王俊傑
他的畫好令人驚艷!
同時也有32部Youtube影片,追蹤數超過2萬的網紅阿藤,也在其Youtube影片中提到,本頻道主要以有趣方式 所呈獻出來的影片 如喜歡可以按訂閱 也可以分享你身邊的朋友呦 如有任何問題我有看到都會回答 聯絡信箱 : [email protected] 拍這部的時候忘了錄影鍵有改位子 跑到最後完結才發現按錯了... 只好弄另一個方式來做 而這台的話,偏難開了點 主要可能過彎慢 氣量...
「critical acclaim」的推薦目錄:
- 關於critical acclaim 在 Chia-Chi Yu / 達姆 Facebook 的精選貼文
- 關於critical acclaim 在 Taepoppuri Facebook 的最讚貼文
- 關於critical acclaim 在 古典好好聽 Classicalmusic to go Facebook 的精選貼文
- 關於critical acclaim 在 阿藤 Youtube 的最佳貼文
- 關於critical acclaim 在 Tarn Softwhip Youtube 的最佳貼文
- 關於critical acclaim 在 七王 Youtube 的最佳貼文
- 關於critical acclaim 在 Critical Acclaim - Facebook 的評價
- 關於critical acclaim 在 Meaning of critical acclaim - English Language Learners ... 的評價
critical acclaim 在 Taepoppuri Facebook 的最讚貼文
FFXVI - First Impressions
ในฐานะคนที่เล่น FF14 ก็เห็นหลายแง่มุมที่น่าสนใจจากการเปิดตัว FF16 โพสต์นี้ก็รวมข้อมูลเบื้องหลังและรวมความรู้สึกของเราต่อประเด็นต่างๆค่ะ
.
.
.
หลายคนอาจจะเห็นพาดหัวข่าวในที่ต่างๆผ่านตามาว่า FF16 นั้นสร้างโดยทีมงาน FF14 แล้วก็จะเห็นคนก็วี้ดว้ายกระตู้วู้กัน ทั้งที่เทรลเลอร์ดูธรรมดามากมาย
สำหรับเรา เทรลเลอร์เปิดตัวของ FF16 นี้ไม่ได้สร้างความประทับใจแรกพบเท่าสมัย FF13, vsXIII หรือ 15 (พูดถึงแค่เทรลเลอร์แรกนะไม่ใช่ผลงานที่ออกมา 😂) ยังไม่มีตรงไหนจี้จุดว้าว ยิ่งด้านดีไซน์ตัวละครรู้สึกว่าเข้าขั้นจืด ดูไม่น่าสนใจ
แต่เราเข้าใจคนที่ไฮป์ เหตุผลสั้นๆคือ FF14 ทำไว้ดีมาก และ FF16 ก็กำลังถูกสร้างโดย(อดีต)ทีมงาน FF14
ทีนี้ก็มารู้จักทีมงานที่ว่าค่ะ
.
.
=Behind the scene=
ตอนนี้ค่าย SQEX แบ่งทีมงานออกเป็น 4 ทีมใหญ่ๆ เรียกว่า ‘Creative Business Unit’ ในแต่ละยูนิตก็จะแบ่งทีมย่อยรับผิดชอบแต่ละเกมอีกที เช่น
.
Unit 1 นำโดยคุณคิตาเสะ ผลงานของยูนิตนี้ก็อาทิ ซีรีส์ KH และ FF7 Remake
Unit 2 นำโดยคุณมิยาเกะ ผลงานของยูนิตคือ ซีรีส์ DQ Nier Bravely
Unit 3 นำโดยโยชิพี ยูนิตนี้ดู FF11 FF14 DQbuilder
Unit 4 นำโดยคุณนิชิคาโดะ ดูแลซีรีส์ Mana เกมพอร์ทและเกมมือถือ
(สำหรับ Project Athia ถือเป็นผลงานของ Luminous Productions แยกเป็นบริษัทลูกออกไปต่างหาก)
.
ถึงแม้จะอยู่ในยูนิตเดียวกัน แต่ในแต่ละยูนิต ก็มีทีมย่อยดูแลแต่ละเกมอีก เช่น Unit 1 ก็มีทีมที่ดู FF7R แยกกันกับทีมที่ทำ KH เป็นต้น
.
สำหรับ FF16 นี้แน่นอนว่าคนละทีมกับ FF7R ไม่ต้องกังวลว่ามีเกมนี้แล้วจะทำให้พาร์ทต่อของ FF7R ล่าช้า อาจจะมีถ่ายโหลดงานยิบย่อยข้ามยูนิตกันได้บ้างในบางกรณีพิเศษจริงๆ แต่ในด้านงานหลักแล้วยูนิตใครยูนิตมัน แต่ละคนมี schedule ของตนเอง
.
และแม้ FF16 จะเป็นงานของ Unit 3 แต่ก็เป็นทีมย่อยคนละทีมกับ FF14 นั่นคืองานของฝั่ง 14 ก็จะยังดำเนินไปตามปรกติ โดยโยชิพีเคยให้สัมภาษณ์ว่ามีเขาคนเดียวที่อยู่ในทีมงานของสองเกมนี้พร้อมกัน ในฐานะโปรดิวเซอร์
.
ต่อไปจะมาดูสาเหตุว่าทำไมจึงมีคนที่ไฮป์กับทีมนี้
.
.
= From The Heavensward =
โปรดิวเซอร์ของ FF16 คือ Naoki Yoshida
หรือที่แฟนๆเรียกว่าโยชิพี 😙
.
ย้อนไปในปี 2010 ที่ FF14 เวอร์ชั่น 1.0 ออกวางจำหน่าย กระแสตอบรับเกมนั้นพังยับทั้งคำวิจารณ์และยอดขาย จนทางค่ายตัดสินใจต้องยกเครื่องเกมใหม่และเปลี่ยนตัวผู้กำกับ
.
โยชิพีคือคนที่เข้ามารับหน้าที่ผู้กำกับคนใหม่ ปรับปรุงตัวเกมเป็นเวอร์ชั่นใหม่ในชื่อ A Realm Reborn แล้วก็สร้างภาคเสริมของ FF14 ในฐานะผู้กำกับและโปรดิวเซอร์เรื่อยมาจนปัจจุบัน ที่เป็นภาค Shadowbringers ซึ่งกระแสตอบรับดีระเบิด ได้ Metacritic 91 คะแนน เป็น FF ภาคที่ได้คะแนนรีวิวสูงสุดในรอบ 13 ปี (ภาคสุดท้ายที่แตะ critical acclaim คือภาค 12)
.
สรุปคือ พี่แกกู้ชีพเกมที่ล้มเหลวให้กลายเป็นเกมยอดเยี่ยมในสายตามหาชน ถือเป็นปาฏิหาริย์หนึ่งในตำนานวงการเกม คนที่รู้จักผลงานจึงตื่นเต้นที่โยชิพีจะมาคุม FF16
.
แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ใน FF16 โยชิพีมีหน้าที่เป็นโปรดิวเซอร์ของเกม ไม่ใช่ผู้กำกับแบบ FF14
.
สำหรับซีรีส์ FF แล้ว เราคิดว่าผลงานเกมที่ออกมานั้นจะขึ้นกับผู้กำกับเป็นหลัก
ยกตัวอย่าง FF10, Dissidia, Dirge of Cerberus, Type-0 ทุกเกมมีโปรดิวเซอร์คนเดียวกันคือคุณคิตาเสะ แต่สไตล์ของแต่ละเกมก็ต่างกันมาก เนื่องด้วยมีผู้กำกับคนละคน โจทย์ของเกมก็ต่างกัน
.
ผู้กำกับของ FF 16 คือ Hiroshi Takai
เป็นคนถัดมาที่เคยเป็นหนึ่งในทีมงานภาค 14
.
ทาคาอิเข้าบริษัทตั้งแต่สมัยเป็นสแควร์ซอฟต์ เริ่มจากแผนกศิลป์ออกแบบศัตรูใน Romancing SaGa ออกแบบกราฟฟิกฉากสู้ของ FF5 จากนั้นตลอดยี่สิบปีก็มีผลงานหลักๆในซีรีส์ซาก้า และ FF11 มาจนถึงผลงานผู้กำกับครั้งแรกอย่าง The Last Remnant
และเครดิตล่าสุดคือการเป็นผู้ช่วยผู้กำกับของ FF14 ตั้งแต่ A Realm Reborn ถึง Heavensward จากบทสัมภาษณ์ในอดีตของ FF14 หลายอันก็เห็นว่าเขาเป็นลีดของ Heavensward ที่โยชิพีไว้ใจ
.
ส่วนตัวแล้วเราเฉยๆ+ไปทางไม่ได้ประทับใจลาสต์เรมแนนต์ ส่วน Heavensward ที่ชอบพอๆกับ Shadowbringers เขาก็ยังไม่ได้เป็นผู้กำกับเต็มตัว จะบอกว่าเราเชื่อมั่นฝีมือเขาเต็มที่ก็ไม่ใช่ แต่เครดิตส่วนที่ดีก็ทำให้คิดว่าคุ้มค่าที่จะจับตาดู
.
คนต่อมาที่ยังไม่มีการคอนเฟิร์มอย่างเป็นทางการ แต่มีความเป็นไปได้สูงว่าจะอยู่ในทีม FF16 ด้วยเช่นกัน คือ Kazutoyo Maehiro ที่เป็นลีดไรเตอร์ของ A Realm Reborn และ Heavensward (แต่ไม่มีเครดิตใน Shadowbringers คิดว่าออกจากทีม 14 ไปทำ 16 พร้อมกับคุณทาคาอินั่นเอง)
.
สำหรับเรา จุดเด่นของมาเอฮิโระคือความ mature ของธีมเรื่อง ถึงจะเป็นเรื่องแฟนตาซีแต่ก็สมจริงในด้านที่มาที่ไปของเหตุการณ์ ไม่มีพลังมิตรภาพจ๋าอะไรแบบนั้น และก็นำลอร์มาใช้เข้ากับพล็อตหลักได้อย่างลื่นไหล
.
อีกข้อนึงที่ไม่รู้ว่าเป็นเพราะ 14 มี silent protagonist รึเปล่า แต่เรื่องของมาเอฮิโระนั้นพล็อต&เหตุการณ์จะเด่นกว่าตัวละคร ไม่เหมือนอย่าง 13,15 ที่ตัวละครแบกเรื่อง ถ้าได้เขามาเขียนเรื่อง ก็อยากจะได้เห็นภาคหลักแบบออฟไลน์ที่พล็อตดาร์คๆอีกสักภาค
.
.
คนสุดท้ายที่ไม่เฟิร์ม แต่คิดว่าใช่...สไตล์เพลงมันเหมือนมาก คือ Masayoshi Soken คนแต่งเพลงผู้รับเหมาแต่ง FF14 มาทุกภาคเสริม ก็ไม่รู้ว่ามาแต่งให้เฉพาะกิจแค่เทรลเลอร์หรือเปล่าเพราะเจ้าตัวสนิทกับโยชิพีมาก
แต่ถ้าได้โซเคนมาจริงก็หายห่วงเรื่องเพลงประกอบไปเลย เก่งทั้งด้านความหลากหลาย จะเพลงคลาสสิคอลแบบอลังการ เพลงร็อคมัน เพลงแดนซ์ ยันเพลงสวด..มีหมด
.
.
=Action & rpg=
จากฉากสู้สั้นๆในเทรลเลอร์ เกมดูมีองค์ประกอบของแอคชั่นผสมอยู่เยอะ จนหลายคนแสดงความกังวลว่าจะเป็นเกมแอคชั่นเพียวๆแล้วเหรอ แต่ทีมงานก็ขอย้ำชัดเจนว่าเกมนี้เป็น action ‘rpg’
.
แต่ถ้าจะดูบู๊ไวไปหน่อยนั้นไม่แปลกเพราะได้ Ryota Suzuki มารับผิดชอบตำแหน่ง Battle director
(ข่าวเก่า เมื่อต้นปี facebook.com/taepoppuri/photos/a.1839317906147650/3121229311289830)
เขาเป็นอดีตนักออกแบบเกมของ CAPCOM มาร่วมยี่สิบปี ประสบการณ์สร้างเกมแอคชั่นแน่นตึ้บ อาทิ Devil May Cry 5 และ Dragon's Dogma และเมื่อจบงาน DMC5 ก็ย้ายมาอยู่ SQEX เพื่อรับหน้าที่นี้โดยเฉพาะ
.
ส่วนตัวมองว่าทีมงานของ SQEX มีนักออกแบบที่ชำนาญระบบการเล่นแบบ rpg อยู่แล้ว แต่ยังขาดคนที่เชี่ยวชาญทางด้านแอคชั่น การที่ได้คุณเรียวตะมาก็เพื่อจะสร้างระบบการเล่นแบบที่ผสมจุดเด่นของทั้งสองสไตล์เข้าด้วยกัน ไม่ใช่จะเปลี่ยนรูปแบบการต่อสู้ให้ไปเป็นเกมแอคชั่นเพียวๆแต่อย่างใด
.
ถึงแม้เราจะมีรสนิยมชอบเกมแอคชั่น แต่เวลาที่เล่นซีรีส์ FF ภาคหลัก ก็อยากจะเล่นเกม rpg ถ้าจะเล่นแอคชั่นเพียวๆเราก็ไปเล่นเกมอื่นที่มันเน้นด้านนั้นแต่แรกดีกว่า เชื่อว่าทีมงานก็เข้าใจตรงนี้ดี และไม่ได้คิดจะทิ้งจุดขายความเป็น rpg ของตัวเองไป
.
ส่วนคำจำกัดความ rpg สำหรับเราคือมีส่วนผสมของการวางกลยุทธ์/การกำหนดบิลด์ของตัวละคร/มีสมาชิกปาร์ตี้ที่เด่นคนละด้าน ไม่เกี่ยงว่าต้องเป็นเทิร์นเบสหรือเรียลไทม์ค่ะ ที่ผ่านมาภาคหลักยกเว้น 15 (base game) ระบบสู้ทำออกมาได้ถูกใจเราหมด
.
การได้คุณเรียวตะมาร่วมทีม เรามองว่าเป็นข่าวดีที่จะได้ระบบสู้แบบใหม่ที่เล่นสนุกแล้วก็ดูดี (ปรัชญาของนักออกแบบคอมแบทสายแคปคอมคือ feels good&looks great) กว่าเกมจะออกก็อย่างน้อยอีกสองปี ก็รอดูว่าจะพัฒนาเพื่อดึงจุดเด่นที่สมดุลออกมาได้ขนาดไหนค่ะ
.
.
=ความเกี่ยวข้องกับ FF14=
เนื่องจากทีมงานเป็นอดีตคนทำ 14 หลายคนก็คิดว่าอาจจะมีจุดเชื่อมโยงกัน และในเทรลเลอร์ก็มีจริงๆ คือคำว่า Mothercrystal และ Eikon
.
เริ่มที่คำว่า Eikon เป็นคำใช้เรียกสัตว์อสูรหรือมนตร์อสูรของภาค 14 คือในโลกของ 14 นั้นมีหลายประเทศ ส่วนมากจะเรียกสัตว์อสูรว่า Primal แต่มีประเทศการ์เลมาลด์ซึ่งเจริญทางเทคโนโลยีมากิเทค ไม่นับถือสัตว์อสูรพวกนี้ จึงเรียกพวกมันว่า Eikon/ไอกอน
.
ส่วนคำว่า Mothercrystal ใน 14 นั้นหมายถึง Hydaelyn ที่ผ่านมาจะเข้าใจว่าเป็นเทพฝั่งแสงสว่าง แต่ในเนื้อหาช่วงหลังเพิ่งเฉลยว่าเธอไม่ใช่เทพ แท้จริงแล้วเป็นแค่ Primal/Eikon ตนหนึ่งที่อยู่มานานก่อนมนุษย์ยุคปัจจุบันจะถือกำเนิด
.
ในบริบทของ 14 สัตว์อสูรเกิดจากความปรารถนาและพลังชีวิตที่หลอมรวมกันจนกลายเป็น entity ที่ทรงพลัง ความสามารถก็ต่างกันตามเจตนาของผู้เรียก
เช่น โซดิอาร์คถูกเรียกมาเพื่อกอบกู้ดวงดาวที่กำลังจะตาย ก็สามารถหยุดได้แม้ภัยสิ้นโลก ส่วนไฮเดลีนที่ถูกเรียกมาเพื่อสะกดโซดิอาร์ค แม้จะไม่ก็มีพลังสู้ชนตรงๆแต่ก็สามารถแยกส่วนตัวตนที่ทรงพลังแล้วขังเอาไว้ได้ เลยจัดการแบ่งโซดิอาร์คออกเป็น 14 ส่วนพร้อมกับดวงดาว ส่วนที่ถูกแบ่งนั้นเรียกว่า Shard
.
เป็นอีกหนึ่งทฤษฏีที่เห็นหลายคนพูดกันว่า FF16 อาจจะเป็น shard หนึ่งที่ไฮเดลีนจับแยกออกไป เพราะแต่ละ shard ดำรงอยู่ไปโดยไม่รู้ว่ามีโลกใบอื่น และนับจากวันที่แยกกัน เหตุการณ์ที่เกิดต่อจากวันนั้นก็เป็นเอกเทศไม่เชื่อมโยงกัน ทำให้แต่ละโลกแตกต่างกันมาก
.
ทั้งหมดนี้ถามว่ามันจะเป็นไปได้ไหมที่ 14 กับ 16 จะอยู่ในจักรวาลเดียวกัน มันก็ได้แหล่ะนะ แต่ส่วนตัวคิดว่าไม่ใช่ เพราะคนทำน่าจะอยากเปิดลอร์ใหม่ มีอิสระเต็มที่มากกว่า และถึงจะมีเอี่ยวกันจริง ก็คงออกมาในรูปแบบ easter egg เล็กๆน้อยๆ แบบ FF10 กับ FF7 ที่แค่มีใบ้จางๆว่าเป็นจักรวาลเดียวกัน คนเล่นจะเชื่อไม่เชื่อก็ได้
.
สรุป ไม่ต้องกังวลว่ามันจะเอี่ยวกันเยอะเกินไป จนไม่ได้เล่น 14 แล้วจะเสียอรรถรสหรือไม่เก็ตเนื้อเรื่อง 16
.
.
=สไตล์&เรตเกม=
เห็นเทรลเลอร์แรกของ FF16 ดูเรียบๆแตกต่างไปจากเทรลเลอร์เปิดตัว FF ภาคหลักอื่นที่จะเน้นความหรูหราแฟนตาซีก็ไม่ค่อยแปลกใจ ลองย้อนไปดูเทรลเลอร์ Heavensward ก็ได้ (คือคนไม่มี context ดูแล้วจะไม่ไฮป์) มันจะไม่หวือหวาแบบเทรลเลอร์สายโนมูระที่ดูครั้งแรกก็เท่เลย
.
ประกอบกับอาร์ตสไตล์ภาคนี้ที่ออกแนวเรียล แถมยังโชว์แต่ฉากธรรมดา ผลคือออกมาจืด คงต้องรอดูฉากปล่อยของแบบไฮแฟนตาซี เท่าที่เห็นภาพคอนเซปต์อาร์ตมาก็คิดว่าไม่น่าห่วง แค่เค้ายังไม่โชว์เท่านั้นเอง
.
สำหรับเรตเกม แอบแปลกใจที่มีฉากบั่นคอ ถึงจะไม่เห็นหัวกลิ้งแต่ก็เลือดสแปลชเต็มหน้าเด็ก ไม่รู้จะแก้ออกมั้ยในเกมจริง เพราะที่ผ่านมา FF ภาคหลักจะจำกัดอยู่ที่เรต T เท่านั้น ขายง่าย ฐานคนเล่นเยอะ ถ้ามีเลือดพุ่งเมื่อไรจะเป็นเรต M ทันที แต่ต่อให้เกมอยู่เรต T เราก็เชื่อว่าทีมนี้จะแต่งให้มันดาร์คได้
.
ตัวอย่างคือ FF14 ที่ถึงจะได้เรต T จาก esrb (เรตเกม 13+ ของอเมริกา) แต่ธีมเรื่องจะแต่งมาให้กลุ่มคนเล่นที่โตกว่า teens
คือถึงสุดท้ายมันก็จะเข้าทำนองกู้โลกเหมือนกัน แต่ให้เทียบแล้ว ธีมหลักจะไม่ได้โฟกัสที่พลังแห่งความเชื่อมั่น การต่อต้านชะตากรรม อิสระปลดแอกมนุษย์แบบ FF13 แต่จะไปเป็นเรื่อง morality แกก็แย่ชั้นก็เลว ความเทาของการกระทำ อะไรแบบนั้นมากกว่า ด้วยเรตเกมทำให้กราฟฟิกมีภาพรุนแรงไม่ได้ แต่เนื้อหาของ 14 จริงๆก็เข้าเรต M ไปละ..มีทั้ง sexual, gore, strong language ตามฐานคนเล่น ในคอมมูนิตี้เองก็แซวกันว่า 14 เป็นเกมคนแก่ เพราะคนส่วนมากเล่นอายุ 25+ ต่างจากภาคอื่นที่มี demographic เป็นวัยรุ่น
.
อันที่จริงไม่ว่าจะเรื่องในเรต T หรือ M มันก็ไม่ได้มีแบบไหนดีกว่าใคร ขอให้มันออกมาดี ซึ่งเราคิดว่าเรื่องหนักๆชวนคิดเยอะจะเข้ามือทีมนี้มากกว่าค่ะ
.
.
.
=ทิ้งท้าย=
สรุปแล้ว เทรลเลอร์แรก ยังเฉยๆอยู่ ไม่รู้สึกอะไรเป็นพิเศษทั้งดีหรือไม่ดี สำหรับเราสิ่งที่ทำให้สนใจนั้นคือเครดิตของทีมงาน แต่เกมๆนึงก็มีปัจจัยหลายอย่าง ต่อให้เป็นทีมงานดีๆทีมเดิมก็ไม่ได้การันตีว่าจะออกมาดีเหมือนเดิม
.
สิ่งที่เราชอบที่สุดของโยชิพีคือความชัดเจน อย่างเวลาทำ 14 จะบอกให้คนเล่นรู้ความคืบหน้าที่ชัดเจนทุกครั้ง ไม่หลอก pr ให้เว่อ ครั้งนี้เจ้าตัวก็บอกทันทีหลังเปิดเทรลเลอร์แรกนี้ว่าข้อมูลครั้งต่อไปจะเปิดเผยใน 2021
.
คือไม่ต้องรอให้เมื่อย ลืมๆไปก่อนได้เลยเจอกันทีจะได้มีอะไรให้ดูมากกว่านี้ เพราะเกมนี้เพิ่งเข้าช่วง production เดือนเมษาปีที่แล้ว โดยมาตรฐานก็บวกไปอย่างน้อยสามปีนู่นกว่าจะออก เชื่อว่ามาอีกทีจะมีอะไรให้ว้าวแน่นอน~
#FF16
critical acclaim 在 古典好好聽 Classicalmusic to go Facebook 的精選貼文
原本今天要播出第一集自製節目,因為出了些問題,改為下週三中午十二點,造成不便,深感抱歉!
音樂與咖啡時間
每週三(二十四日)中午十二點首播
暢談古典音樂世界
主題:樂聖貝多芬
主講人:梶間聡夫 Fusao Kajima
音樂家資訊
姓名: 梶間聡夫 Fusao Kajima
經歷:
梶間聡夫 | 指揮
芝加哥論壇報曾經如此讚揚梶間聡夫先生:「梶間觸動了觀眾的心智和靈魂。」身為指揮家,梶間聡夫以忠於藝術和提供創新節目的領導力,獲得了極具重要性的讚賞。
而今梶間聡夫的聲譽和經驗遍及全球,包括歐洲,亞洲和美國:聖彼得堡交響樂團(the symphony orchestras of St. Petersburg)、俄羅斯聖彼得州交響樂團(St. Petersburg State)、加拿大溫哥華島交響樂團(Vancouver Island)、日本新星日本交響樂團(Shinsei Nihon)、國立臺灣交響樂團(National Taiwan)、新北市交響樂團(Taipei Metropolitan)、義大利Pescara交響樂團(Pescara)、西班牙Malaga交響樂團(Malaga)、美國阿肯色交響樂團(Arkansas)、塞爾維亞Belgrade管弦交響樂團(Belgrade Philharmonic)、德國羅伯舒曼交響樂團(Robert Schumann Philharmonie, Nordost Deutsche Philharmonie)、西班牙馬德里交響樂團(Madrid Philharmonic)、義大利特倫托交響樂團(the Academic Philharmonic of Trento)、愛沙尼亞David Oistrakh音樂節交響樂團(David Oistrakh Music Festival Orchestra)、印度孟買室內交響樂團(David Oistrakh)。
梶間聡夫在安東尼奧比特洛堤國際指揮比賽(Antonio Pedrotti)、大師級演奏者(Masterplayers),以及奧地利廣播公司年輕指揮家大賽(Austrian Broadcasting Corporation Young Conductors’s Prize Competition)等最知名的世界國際指揮大賽中曾獲得了極高殊榮。
梶間聡夫目前擔任國立台北藝術大學的交響樂團指揮,以往也曾擔任美國華盛頓州Bellevue愛樂管弦樂團、美國科羅拉多州Fort Collins交響樂團、美國伊利諾州Fox Valley交響樂團、美國密西根州Papagena歌劇院(the Papagena Opera Company)的音樂總監,國立臺灣交響樂團指揮,美國密西根州the Greater Lansing交響樂團(the Greater Lansing Symphony Orchestra)、德國Freiburger歌劇院(Freiburger Theater, Staatstheater Darmstadt),以及美國密西根中部的歌劇院(the Opera Company)的助理指揮。此外,他也曾在北伊利諾大學及喬治亞州大學任教。
梶間聡夫在日本出生,四歲時開始學習鋼琴,十四歲時開始學習音樂指揮課程。他畢業於新英格蘭音樂學院和密西根大學,曾與哥斯塔夫梅爾(Gustav Meier)、馬丁卡茲( Martin Katz)、維若妮卡喬舒姆( Veronica Jochum),以及路易斯克雷斯納(Louis Krasner)等老師學習鋼琴與指揮。他曾就讀於坦格伍德(Tanglewood),與雷納德伯恩斯坦(Leonard Bernstein)、小澤征爾(Seiji Ozawa),以及李奧納多斯萊金(Leonard Slatkin)等作曲及指揮家學習,也曾在基齊-薩拉齊尼宮(Chigiana)與格納迪.羅許德茲特溫斯基(Gennady Rodhestvensky),以及在愛沙尼亞與奈米加如(Neeme Jarvi)和喬瑪潘紐拉(Jorma Panula)等著名指揮家學習。
Fusao Kajima | Conductor
“(Kajima) touches the minds and hearts of audiences,” once the Chicago Tribune hailed him. A conductor, Fusao Kajima has been winning critical acclaim for his leadership in both artistic commitment and innovative program offerings.
Maestro Kajima’s prestige and experience now span the globe. He has conducted throughout Europe, Asia, and the United States, including the symphony orchestras of St. Petersburg, St. Petersburg State in Russia, Vancouver Island in Canada, Shinsei Nihon in Japan, National Taiwan and Taipei Metropolitan, Pescara in Italy, Malaga in Spain, Arkansas in the United States, and orchestras of Belgrade Philharmonic in Serbia, Robert Schumann Philharmonie, Nordost Deutsche Philharmonie in Germany, Madrid Philharmonic in Spain, the Academic Philharmonic of Trento, Italy, David Oistrakh Music Festival Orchestra in Estonia, the Bombay Chamber in India. His future guest engagements include, Evergreen Symphony Orchestra in Taipei, Gran Teatre del Liceu Academy Orchestra.
Maestro Kajima has received high honors at some of the most prestigious international conducting competitions in the world, including “Antonio Pedrotti,” “Masterplayers,” and Austrian Broadcasting Corporation Young Conductors’s Prize Competition.
Currently he is the Director of Orchestra at Taipei National University of the
Arts. Previously, he has held positions of Music Director of Bellevue Philharmonic (WA), Fort Collins Symphony Orchestra (CO), Fox Valley Symphony Orchestra (IL), the Papagena Opera Company (MI), Permanent Conductor of National Taiwan Symphony Orchestra, Assistant Conductor of the Greater Lansing Symphony Orchestra (MI), Freiburger Theater, Staatstheater Darmstadt (Germany), and the Opera Company of Mid-‐Michigan. He has held academic position with Northern Illinois University and Georgia State University.
A native of Japan, Fusao Kajima began his piano studies at age four and his conducting studies at fourteen. An alumnus of the New England Conservatory and the University of Michigan, his teachers include Gustav Meier, Martin Katz, Veronica Jochum, and Louis Krasner. Kajima has studied at Tanglewood with Leonard Bernstein, Seiji Ozawa, and Leonard Slatkin, at Chigiana with Gennady Rodhestvensky, and also in Estonia with Neeme Jarvi and Jorma Panula.
critical acclaim 在 阿藤 Youtube 的最佳貼文
本頻道主要以有趣方式
所呈獻出來的影片
如喜歡可以按訂閱
也可以分享你身邊的朋友呦
如有任何問題我有看到都會回答
聯絡信箱 : q14442678@gmail.com
拍這部的時候忘了錄影鍵有改位子
跑到最後完結才發現按錯了...
只好弄另一個方式來做
而這台的話,偏難開了點
主要可能過彎慢
氣量的話因是白框零件,所以少了些
整體算是偏娛樂性
如你想獲得這台的話,除了登入外
也可以到這次的活動網頁抽個30天
https://kart.nexon.com/events/2021/0204/Event.aspx
可利用任務及掛機獲得韓泰輪胎寶石來參與
或者累積199公里可拿到永久
BGM:
Critical Acclaim 【Avenged Sevenfold】 Cover by A-YEON
https://www.youtube.com/watch?v=kvJElTaR5kM
critical acclaim 在 Tarn Softwhip Youtube 的最佳貼文
Follow me
Instagram : tarn_softwhip
Twitter : Tarn_Softwhip
https://www.facebook.com/tarn.softwhip
https://www.facebook.com/chanittha.lojananont
เสื้อยืดโลโก้ Tarn Softwhip แบบที่ใส่ในคลิป สามารถซื้อเสื้อได้ที่ลิ้งค์นี้เลยค่ะ
Tarn Softwhip T-shirt ( White ) ที่ Shopee https://shopee.co.th/chanitthalojananont/9816825332?smtt=0.0.9
Tarn Softwhip T-Shirt ( Black ) ที่ Shopee https://shopee.co.th/chanitthalojananont/4379737323?smtt=0.0.9
ไม้กลอง +ลายเซ็น
https://shopee.co.th/chanitthalojananont/9816819272?smtt=0.0.9
ติดต่องานแสดง 081-6305217 คุณ โจ
For work please contact
Email : Type1999@gmail.com
You can support me [ Donation ]
https://paypal.me/TarnSoftwhip
ช่องทางการสนับสนุน
ธนาคาร ไทยพาณิช [ SCB ]
นางสาว ชนิษฐา โลจนานนท์
427-040761-2
#a7x #CriticalAcclaim #drumcover
critical acclaim 在 七王 Youtube 的最佳貼文
Valkyrie no Densetsu[a] is a 1989 action-adventure role-playing arcade game developed and published in Japan by Namco. Up to two players control the warrior maiden Valkyrie or her lizard-like companion Kurino Xandra as they set out to drop a mythical item called the Golden Seed into the Northern Fountain to replenish the dying cropfields of Xandra Land, and must also stop the antagonist Kamooz, who also sets out for the Golden Seed to enslave all the inhabitants of Marvel Land. Gameplay involves defeating enemies and collecting gold to purchase magical spells and weapons in shops. It is a followup to the 1986 Family Computer game Valkyrie no Bōken: Toki no Kagi Densetsu, with Valkyrie no Densetsu having a greater focus on action.
Valkyrie no Densetsu was the creation of Namco artist Hiroshi Fujii and a designer only known by the pseudonym of "Koakuman". The game's world, the fictional kingdom of Marvel Land, was greatly inspired by Viking tales from northern Europe and the middle ages, with a heavy emphesis on having a sort-of "magical" feel of it. It was originally meant to be four-player action game in the vein of titles like Gauntlet with a cabinet-linking system similar to Final Lap, which was scrapped later on. Characters were made to have personality and depth, a design choice inspired by The Wizard of Oz. The team envisioned a world that changed as the player progressed onward, with transitioning seasons and landscapes, however the usage of a vertical-oriented monitor forced much of this to be scrapped or altered.
Valkyrie no Densetsu was released in arcades to critical acclaim for its gameplay, characters and world, winning several awards from Gamest magazine. Namco ported the game to the PC Engine in 1990, a conversion that was met with a more mixed response for its difficulty, downgraded graphics and altered gameplay. The game was mostly unknown outside Japan until the release of Namco Museum Vol. 5 in 1997, which renamed the game to The Legend of Valkyrie and was fully translated into English. Several additional ports were made, including those for Windows, Japanese mobile phones and the Wii Virtual Console. The PC Engine conversion is also one of the 50 built-in games included in the upcoming TurboGrafx-16 Mini by Konami.
(個人通關414)
critical acclaim 在 Meaning of critical acclaim - English Language Learners ... 的推薦與評價
You are probably wondering how something can be critical (which is often perceived as negative) but also give acclaim (which is positive). ... <看更多>
critical acclaim 在 Critical Acclaim - Facebook 的推薦與評價
Critical Acclaim. 1458 likes · 11 talking about this. Alternative Rock/Metal Czech Republic Petr Kadlec // VOCALS Tomáš Kolda // GUITAR Tomáš Kopeček... ... <看更多>